วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2562
วันพฤหัสบดีที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2562
3.การเดินทางมาโรงเรียน
3.การเดินทางมาโรงเรียน
เริ่มต้น
1.รอรถ
2.รถมา เวลา 6.50 นาที
3.นั่งรถ
4.เล่นโทรศัพท์และนอน
5.ถึงโรงเรียน
เริ่มต้น
1.รอรถ
2.รถมา เวลา 6.50 นาที
3.นั่งรถ
4.เล่นโทรศัพท์และนอน
5.ถึงโรงเรียน
การถ่ายทอดความคิดเป็นรหัสลำลอง
1. การแปรงฟัน
เริ่มต้น
1. ตักนํ้าใส่ขันมาบ้วนปาก
2. ยิบยาสีฟัน
3.ยิบแปรงสีฟัน
4. บีบยาสีฟันใส่ในแปรงสีฟัน
5. แปรงฟันประมาณ2-3 นาที แล้วล้างปาก
6.ล้างแปรงสีฟัน
จบ
เริ่มต้น
1. ตักนํ้าใส่ขันมาบ้วนปาก
2. ยิบยาสีฟัน
3.ยิบแปรงสีฟัน
4. บีบยาสีฟันใส่ในแปรงสีฟัน
5. แปรงฟันประมาณ2-3 นาที แล้วล้างปาก
6.ล้างแปรงสีฟัน
จบ
หน่วยที่2ชุดที่4
แบบฝึกหัดระหว่างเรียน หน่วยที่ 2 ชุดที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของโลหะ ว21103
คะแนนรวม8/10
คะแนนของส่วน0/0
ชื่อ - สกุล *
นิสา อินทร์ขุนจิต
เลขที่ *
28
ชั้น *
ม1/7
โลหะ คือ วัสดุที่ประกอบด้วยธาตุโลหะที่มีอิเล็กตรอนอิสระอยู่มากมาย นั่นคืออิเล็กตรอนเหล่านี้ไม่ได้เป็นของอะตอมใดอะตอมหนึ่งโดยเฉพาะ ทำให้มีคุณสมบัติพิเศษหลายประการ เช่นเป็นตัวนำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีมากไม่ยอมให้แสงผ่านผิวของโลหะที่ขัดเรียบจะมีลักษณะเป็นมันวาวมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง ส่วนใหญ่มีสถานะเป็นของแข็ง (ยกเว้นปรอทซึ่งมีสถานะเป็นของเหลว)โลหะมีความแข็ง และเหนียว จึงสามารถแปรรูปได้จึงถูกใช้งานในด้านโครงสร้างอย่างกว้างขวางธาตุที่มีสมบัติความเป็นโลหะสูง คือ ธาตุที่สามารถให้ หรือสูญเสียอิเล็กตรอนแก่ธาตุอื่น ๆ ได้ดีโลหะที่มีมากที่สุดในโลก คือ อะลูมิเนียม คุณสมบัติของโลหะสามารถแยกได้ทั้งหมด 6 ประเภท ดังนี้ 1.คุณสมบัติทางกล (Mechanical properties) ได้แก่ ความแข็ง (Hardness) ความแกร่ง (Strength) 2.คุณสมบัติความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด ได้แก่ โมดูลัสความยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) 3.คุณสมบัติทางเคมี (Chemical properties) ได้แก่ ความทนทานต่อการกัดกร่อน 4.คุณสมบัติทางไฟฟ้า (Electrical properties) ได้แก่ ความต้านทานทางไฟฟ้า 5.คุณสมบัติทางความร้อน (Thermal properties) ได้แก่ อุณหภูมิจุดหลอมเหลว 6.คุณสมบัติอื่นๆ ได้แก่ ความสึกหรอ (Wear) และความหนาแน่น คุณสมบัติทางกลสำหรับวิชาโลหะวิทยา คุณสมบัติขั้นพื้นฐานในทางกลนั้นประกอบด้วยความแข็งแกร่ง ความแข็ง และความเหนียว (Ductility) ซึ่งทั้ง 3 คุณสมบัติดังกล่าวเป็นคุณสมบัติที่มีความเชื่อมโยงและสัมพันธ์กัน โดยที่ค่าความแข็งและความแข็งแกร่งจะแปรผกผันกับค่าความเหนียว กล่าวคือ เมื่อวัสดุมีค่าความเหนียวมาก ค่าความแข็งและความแข็งแกร่งจะลดลง ตรงกันข้ามเมื่อวัสดุมีค่าความแข็งและความแข็งแกร่งมากขึ้น ค่าความเหนียวจะลดลงจนทำให้วัสดุมีความเปราะ (Brittle)ความแข็งความแข็ง หมายถึงความต้านทานการเสียรูปถาวรของวัสดุ ซึ่งที่วัสดุที่มีค่าความแข็งมากจะมีค่าความแข็งแกร่งมากขึ้นเช่นเดียวกัน หากต้องการให้ค่าความแข็งและความแข็งแกร่งเพิ่มโดยที่ค่าความเหนียวไม่ลดลง สามารถทำได้โดยการเติมส่วนผสมของธาตุลงไปในโลหะหลอมขณะอยู่ในขั้นตอนการหลอมโลหะ วิธีการดังกล่าวสามารถเพิ่มคุณภาพด้านความแข็งและความแข็งแกร่งแก่โลหะได้ โดยที่มีค่าความเหนียวคงที่ความเหนียวและความเปราะ ความเหนียวและความเปราะ เป็นคุณสมบัติที่ตรงข้ามกันเสมอ ซึ่งคุณสมบัติทั้งสองดังกล่าวได้ถูกนำมาศึกษาและทดสอบเกี่ยวกับความเหนียวของวัสดุ โดยที่วัสดุที่มีความเหนียว หมายถึงวัสดุที่สามารถยืดได้มากก่อนจะขาดออกจากกัน ส่วนวัสดุที่มีความเปราะหรือมีความเหนียวน้อย หมายถึงวัสดุที่สามารถยืดได้น้อย หรือไม่สามารถยืดได้เลย ก่อนจะขาดออกจากกัน
ให้นักเรียนศึกษาเนื้้อหาแล้วตอบคำถาม
คะแนนของส่วน8/10
1.โลหะคืออะไร *
1/1
วัสดุที่ประกอบด้วยธาตุโลหะที่มีอิเล็กตรอนอิสระอยู่มากมาย
2.โลหะที่มีมากที่สุดในโลกคือโลหะอะไร *
1/1
เหล็ก
3. เพราะอะไร โลหะจึงใช้ในการโครงสร้างได้ดี *
1/1
มีความอ่อน และเหนียว
4.คุณสมบัติของโลหะสามารถแยกได้กี่ประเภท *
0/1
3 ประเภท
5.ความแข็งและความแกร่งของโลหะจัดเป็นคุณสมบัติด้านใด *
1/1
คุณสมบัติทางความร้อน
6.ยกตัวอย่างคุณสมบัติความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด *
1/1
ความทนทานต่อการกัดกร่อน
7. คุณสมบัติทางเคมีได้แก่คุณสมบัติด้านใด *
1/1
ความทนทานต่อการกัดกร่อน
8.ข้อใดบอกตัวอย่างคุณสมบัติทางไฟฟ้า (Electrical properties) ของโลหะได้ถูกต้องที่สุด *
1/1
ความต้านทานทางไฟฟ้า
9.คุณสมบัติทางความร้อน (Thermal properties) ของโลหะวัดจากอะไร *
1/1
ความต้านทานทางไฟฟ้า
10.เมื่อวัสดุมีค่าความเหนียวมาก ค่าความแข็งและความแข็งแกร่งจะเป็นเช่นไร *
0/1
จะเพิ่มขึ้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)